โอ้ยปวดฟันอีกแล้ว… ถ้าจะไปหาหมอก็ต้องเสียงเงินและเสียเวลา วันนี้เรามาเสนอบทความ ยาแก้ปวดฟัน กินอย่างรู้เท่าทัน แอดขอนำเสนอ ยาแก้ปวดฟันที่เราสามารถซื้อรับประทานได้เอง ยาแต่ละประเภทใช้อย่างไร มีอะไรบ้างไปดูกันเลยค่ะ
ยาที่อาจจะนำเสนอนั้นส่วนใหญ่สามารถหาซื้อได้ในร้านขายยาทั่วไป แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อความปลอดภัยของทุกท่าน ก่อนซื้อยานั้นควรจะปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนทุกครั้ง และยาที่ช่วยบรรเทาอาการปวดฟันมีดังนี้ค่ะ
1. ไอบูโพรเฟน
เครดิต : https://theconversation.com/ibuprofen-and-covid-19-symptoms-heres-what-you-need-to-know-134064
เป็นยาในกลุ่มเอ็นเสด ซึ่งยาชนิดนี้นั้นเป็นยาแก้อักเสบ ชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการปวด ลดการอักเสบ รวมไปถึงลดไข้ เหมาะสำหรับบรรเทาอาการปวดในระดับ เล็กน้อย – ปานกลาง เท่านั้น ข้อแนะนำ ผู้ใหญ่ควรรับประทานในปริมาณขนาด 400 – 800 มิลลิกรัม วันละ 3 – 4 ครั้ง และไม่ควรทานเกิน 3,200 มิลลิกรัม ต่อ วัน ทั้งนี้ควรรับประทานยาหลังอาหาร เพื่อลดการระคายเคืองในกระเพาะอาหารนั่นเองค่ะ
2. พาราเซตามอล
เครดิต : www.freepik.com
เป็นยาในกลุ่มแก้ปวดลดไข้ ที่มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการปวด ลดไข้ บรรเทาอาการอักเสบ เหมาะสำหรับการปวดฟันในระดับเล็กน้อย – ปานกลาง เท่านั้น ข้อแนะนำ ผู้ใหญ่รับประทานยาพาราเซตามอลในปริมาณ 325 – 1,000 มิลลิกรัมทุก 4 – 6 ชั่วโมง ส่วนเด็กรับประทานยาพาราเซตามอลในปริมาณ 10 -15 มิลลิกรัม ต่อ น้ำหนักตัว ต่อ กิโลกรัม ทุก4 – 6 ชั่วโมง และไม่ควรทานเกิน 5 ครั้งต่อวัน
3. นาพร็อกเซน
เครดิต : https://hellokhunmor.com
เป็นยาชนิดออกฤทธิ์ทันที ซึ่งผู้ใหญ่ควรรับประทานในปริมาณ 550 มิลลิกรัม ทุก 12 ชั่วโมง หรือรับประทานยานาพร็อกเซน ชนิดออกฤทธิ์ทันที ปริมาณ 275 มิลลิกรัม ทุก 6 – 8 ชั่วโมง
4. เบนโซเคนชนิดทา
เครดิต : www.freepik.com
ยาเบนโซเคนชนิดทานั้น จะมาในรูปแบบเจลมีความเข้มข้นถึง 20% ใช้ทาในบริเวณที่มีอาการปวด ในปริมาณ 4 ครั้งต่อวัน โดยยาเบนโซเคนนั้น จะมีความเข้มข้นของยาชาที่แตกต่างกันไป จึงขอแนะนำว่า ต้องให้แพทย์แนะนำปริมาณและความถี่ในการทายาก่อนการใช้ยาในทุกครั้ง
ว้าว…บทความ ยาแกปวดฟัน กินอย่างรู้เท่าทัน แอดได้นำมาฝากนั้นมีประโยชน์มากใช่ไหมล่ะคะ และแอดขอทิ้งท้ายไว้ว่าอย่างไรก็ตามนะคะยาเหล่านี้อาจจะก่อให้เกิดผลข้างเคียงได้จึงต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชชกรอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัว เด็กหรือคุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์
ขอบคุณข้อมูลดีดี
credit. เซ็กซี่บาคาร่า