กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?!

ลูกน้อย กรดไหลย้อนในเด็กทารก

สารบัญ

   หากเอ่ยคำว่าเกรดไหลย้อน ก็คงไม่มีใครอยากจะเป็นโดยเฉพาะในวัยทารก วันนี้มีหัวข้อ กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! มาบอก เป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ควรจะต้องทราบ เพื่อรับมือกับสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งที่ไม่อยากจะให้เกิดขึ้น 

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 02

วิธีสังเกตอาการ

ต้องเข้าใจเสียก่อนว่าโรคกรดไหลย้อนไม่ได้เกิดกับเฉพาะวัยผู้ใหญ่เท่านั้น แต่กับเด็กทารกก็สามารถเป็นได้ สัญญาณของอาการกดไหลย้อนในเด็กให้สังเกตจาก การไอเรื้อรังของลูก  การร้องไห้ระหว่างมื้ออาหารและหลังรับประทานอาหาร บางครั้งลูกจะมีอาการเบื่ออาหารและมักจะมีปัญหาเวลาที่รับประทานอาหาร รวมถึงอาการอาเจียนบ่อยๆ 

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 03

สาเหตุที่เป็นกรดไหลย้อน

เริ่มจากกรดในกระเพาะเคลื่อนตัวกลับมาที่หลอดอาหาร เพราะระบบย่อยอาหาร ยังทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพนัก ซึ่งสาเหตุเกิดได้จากหลายกรณี มีความแตกต่างกันออกไป ทั้งเด็กเล็ก หรือผู้ใหญ่ เกิดขึ้นเพราะระบบกล้ามเนื้อปิดเปิด ระหว่างกระเพาะ และหลอดอาหารเกิดการคลายตัว เกิดแรงดันมาจากด้านล่างของกล้ามเนื้อเปิดปิด 

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 04

วิธีรับมือหากลูกเป็นกรดไหลย้อน

เริ่มจากการปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ก็อาจจะช่วยให้ลูกบรรเทาอาการกรดไหลย้อนได้ค่ะ ไม่ว่าจะเป็น การนอน การรับประทานอาหาร ก็มีผล

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 05

การรับมือกับกรดไหลย้อนสำหรับเด็กเล็ก

เริ่มจากการปรับตารางรับประทานอาหารให้ลูก อาจเพิ่มซีเรียลซ์ในขวดนม หรืออาจให้ลูกรับประทานอาหารที่แข็งขึ้น แต่ทั้งนี้จะต้องศึกษากุมารแพทย์เสียก่อน 

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 06

สำหรับท่านอน ควรยกส่วนหัวของเตียง หรือเปลของลูกให้อยู่สูงขึ้น และเวลาอุ้มลูก ควรให้เขาได้อยู่ในท่าที่ลำตัวตั้งตรงสักประมาณ 30 นาที หลังจากที่ป้อนอาหารแล้ว 

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 07

การรับมือกับกรดไหลย้อนสำหรับเด็กโต

เริ่มจากท่านอนของลูก คุณแม่ควรยกส่วนของหัวเตียงของลูกให้อยู่สูงขึ้น ให้ลูกอยู่ในท่าที่ลำตัวตรง หลังจากรับประทานอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง จากนั้นควรแบ่งมื้ออาหารออกเป็นมื้อย่อยๆ ระหว่างวัน ไม่ควรให้ลูกทานมื้อใหญ่ในทีเดียว 

ควรจำกัดอาหาร และเครื่องดื่มที่อาจทำให้เกิดอาการกดไหลย้อนแย่ลง งดการดื่มน้ำอัดลมสำหรับลูก และส่งเสริมให้ลูกได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! 08

รักษาโรคกรดไหลย้อนโดยการผ่าตัด

ยังคงมีการรักษาโรคกรดไหลย้อนด้วยวิธีอื่น โดยไม่มีความจำเป็นสำหรับเด็ก ที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคกรดไหลย้อนนี้ เพราะการผ่าตัดนั้นมีความเสี่ยง โดยที่คุณจะต้องมีการปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเสียก่อน เพราะจะช่วยคุณตัดสินใจว่าวิธีการรักษาใดที่จะเหมาะสมที่สุด สำหรับลูกน้อยและบุตรหลานของคุณ 

หวังว่าคุณคงจะถูกใจบทความ กรดไหลย้อนในเด็กทารก อันตรายไหม คุณแม่ควรรับมืออย่างไร?! อันนี้

เครดิตภาพ : google.com , sanook.com

www.sanook.com

Credit. ไฮโลออนไลน์

Poster 24

Poster 24

ผู้คว่ำหวอดในวงการสุขภาพแนวหน้าในประเทศไทย

รวมเรื่องน่ารู้สำหรับพ่อแม่มือใหม่

เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับผู้หญิง

ดูแลผิวพรรณ เส้นผม เครื่องสำอาง